โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชนเพื่อการเปลี่ยนแปลง: สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม วันพฤหัสบดีที่ 23 – วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมไมด้า ทวารวดี แกรนด์ นครปฐม (4 วัน 3 คืน) |
หลักการและเหตุผล สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) มีจุดเน้นในการส่งเสริมขีดความสามารถของประชาชนในการเข้าถึง (Accessibility) ระบบสื่อที่มีสุขภาวะและวิถีสุขภาวะทางปัญญา อันนำไปสู่วิถีชีวิตสุขภาวะและการเติบโตทางปัญญาและพํฒนาสู่ความเป็นพลเมืองตื่นรู้ ด้วยการส่งเสริมความพร้อม (Availability) ของปัจจัยแวดล้อมด้านระบบสื่อที่มีสุขภาวะและวิถีสุขภาวะทางปัญญา โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำชุมชนเพื่อการเปลี่ยนแปลง: สื่อเป็นโรงเรียนของสังคม จะเป็นปฏิบัติการขับเคลื่อนนักสื่อสารสร้างสรรค์ที่เป็นภาพใหญ่ ที่จะเชื่อมประสานการทำงานร่วมกันต่อยอดโครงการนักสื่อสารสร้างสรรค์สุขภาวะระดับพื้นที่ ในลักษณะต่อยอดศักยภาพการทำงานเป็นเครือข่ายระยะยาวร่วมกัน ซึ่งท้ายในโครงการ จะนำไปสู่ชุมชนปฏิบัติการ (Community Best Practice) เชิงยุทธศาสตร์ ที่จะขับเคลื่อนต่อยอดสู่ภาคนโยบายในระดับท้องถิ่น เกิดกระแสในวงกว้าง สร้างผลงานที่เป็นรูปธรรม และเกิดทิศทางการขับเคลื่อนไปสู่นโยบายระดับชาติในระยะต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเติมความรู้แก่บุคลากร เพื่อช่วยกันผลักดันสื่อให้เป็นโรงเรียนของสังคมอย่างแม่นยำและคมชัดขึ้น 2. เพื่อเสริมพลังให้เครือข่ายเข้าใจเป้าหมาย และมีสมรรถนะในฐานะ “ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent) ของเครือข่ายสื่อเป็นโรงเรียนของสังคม ระยะที่ 2 3. เพื่อเชื่อมโยงกลุ่มคนทำงานสื่อเป็นโรงเรียนสังคม และประสานความคิด ความรู้ งาน และพลัง เป็นเครือข่ายสื่อคือโรงเรียนของสังคม (ระยะที่ 2) ให้กว้างขวาง สามารถเกิดเครือข่ายประสานกลุ่มคน ประสานกลุ่มงาน ประสานพื้นที่ ประสานความรู้ และประสานสื่อ เป็นนวัตกรรมอภิสาร-อภิสื่อ อย่างมีคุณค่า กลุ่มเป้าหมาย ภาคีเครือข่าย สมาคมวิชาชีพด้านสื่อ การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม ที่ต้องการใช้สื่อเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลง จำนวน 48 คน (ระดับผู้นำ 40 คน ระดับปฏิบัติการ 8 คน) ระยะเวลา 4 วัน 3 คืน ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ 23 – วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560 (ผู้เข้าอบรมต้องเข้าได้ครบตลอดระยะเวลาการอบรม) สถานที่ โรงแรมไมด้า ทวารวดี แกรนด์ นครปฐม ค่าใช้จ่าย โครงการสนับสนุนค่าเดินทาง (เครื่องบิน รถ รถไฟ) ที่พักและอาหารหมายเหตุ วิทยากรอยู่ระหว่างการประสานงาน |
|
กำหนดการอบรม วันที่ 1 (วันพฤหัสบดีที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560) |
เวลา | ห้วข้อ | วัตถุประสงค์ | วิทยากร |
13.00-13.15 น. | พิธีเปิด | •รับรู้การทำงาน “สื่อเป็นโรงเรียนเพื่อสังคม” ระยะที่ 2 •รับทราบบทสรุปเกี่ยวกับโครงการ ระยะที่ 1 และความคาดหวังของงานในระยะที่ 2 •แผนงาน โครงการระยะที่ 2 |
รศ.ประภาภัทร นิยม อาจารย์มานพ แย้มอุทัย ศ.สุกัญญา สุดบรรทัด อาจารย์เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ที่ปรึกษาโครงการ |
13.16–14.45 น. | กิจกรรม “ปรับฐานคิด” “ละลายพฤติกรรม” (“รู้จักกัน-แบ่งปัน-เกื้อกูล”) |
•ผู้ร่วมอบรมแนะนำตัวแนะนำงาน และขอบข่ายกิจกรรมที่เคยทำ /ประเด็นที่อยากเปลี่ยนแปลงหรือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง / สิ่งที่คาดหวังจากการเข้าร่วมกิจกรรมครั้งนี้ |
วิทยากรกลุ่มกิจกรรม อ.จำรัส จันทนาวิวัฒน์ ผศ.บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ อ.ภัทราวดี ธีเลอร์ อ.ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ ดร.พิทยา พละพลีวัลย์ |
14.46-15.00 นรับประทานอาหารว่าง |
|||
15.00–17.00 น. | บรรยายหัวข้อ “สื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลง (Media for Change)” แนวคิดและกรณีศึกษา |
•เข้าใจความหมายของ สื่อเพื่อการเปลี่ยนแปลง •ศึกษาจากรณีศึกษาทั้งในและต่างประเทศ วิทยากรบรรยาย |
ดร.กันยิกา ชอว์ อ.ดนัย หวังบุญชัย |
17.00–18.30 น. | รับประทานอาหารเย็น และ เก็บสัมภาระ | ||
18.30 – 20.00 น. | กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ “ปรับฐานคิด” | •Active Citizen และบทบาทในการเปลี่ยนแปลง •การฟังและจับประเด็น Deep listening •Active Citizen Mind Set แบบฝึกเพื่อเป็น Citizen ที่ Active |
วิทยากรบรรยาย ดร.สรยุทธ รัตนพจนารถ และคุณธีรพล เต็มอุดม แผนงานสุขภาวะทางปัญญา |
20.00 -21.00 น. | “สื่อคิด สื่อเขียน” | • “สื่อคิด สื่อเขียน” | อาจารย์ชมัยภร แสงกระจ่าง ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ประจำ |
21.00 น.เป็นต้นไปพักผ่อนได้ตามอัธยาศัย |
วันที่ 2 (วันศุกร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560) |
เวลา | ห้วข้อ | วัตถุประสงค์ | วิทยากร |
09.00 - 12.00 น. | บรรยายหัวข้อ “เครื่องมือสื่อในการเปลี่ยนแปลง และกระบวนการ” วิทยากร: อ.บรรยงค์ -การสื่อสารต่างวัฒนธรรม -ความสำคัญของสื่อบุคคล -สื่อหลัก -สื่อสังคมออนไลน์ -สื่อยุคหลอมรวม -การสร้างและการใช้ถังข่าว กิจกรรมประกอบการบรรยาย : ถังข่าว |
•กุญแจสำคัญของลักษณะร่วม-ต่าง ของวัฒนธรรม (ชาติพันธ์/เพศ/อายุ/พื้นที่/ความเชื่อ-ประเพณี) •เห็นอะไรในกลุ่มคนและกลุ่มงานต่างวัฒนธรรม •สื่ออย่างไรให้น่าสนใจและได้ผล •เข้าใจภูมิทัศน์สื่อยุคปัจจุบัน •บทบาทสื่อและการสื่อสารยุคใหม่ Convergence สื่อกระแสหลัก สื่อทางเลือกและสื่อออนไลน์ •ถังข่าว •ความร่วมมือเรื่องข้อมูลและการใช้ข้อมูล •ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ •กฎหมายเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล •ตัวอย่างดี ถูกต้อง / ดีแต่ไม่ถูกต้อง ไม่ดีแต่ถูกต้องและไม่ดี ไม่ถูกต้อง |
วิทยากรบรรยาย อ.บรรยงค์ สุวรรณผ่อง วิทยากรกลุ่มกิจกรรม อ.จำรัส จันทนาวิวัฒน์ ผศ.บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ อ.ภัทราวดี ธีเลอร์ อ.ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ดร.พิทยา พละพลีวัลย์ |
10.20 – 10.40 น. รับประทานอาหารว่าง |
|||
12.01 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน |
|||
13.01 – 14.30 น. | บรรยายหัวข้อ “Social Media Campaign //Social Marketing Campaign” | •การรณรงค์เพื่อการเปลี่ยนแปลงโดยการใช้สื่อแบบบูรณาการ | วิทยากรบรรยาย คุณธรากร กมลเปรมปิยะกุล ผู้อำนวยการองค์กรสร้างสรรค์เพื่อสังคม iCARE |
15.00 – 17.00 น. | กระบวนการชุมชน กระบวนการสื่อ กระบวนการรณรงค์ : เปลี่ยนคุกให้เป็นสวรรค์ ลงพื้นที่นครปฐม ศึกษากรณีพื้นที่คุกเก่า |
||
17.01 - 18.30 น.รับประทานอาหารเย็น |
|||
19.00 - 21.00 น. | กิจกรรม “ระดมสมองสร้างแผนรณรงค์โครงการ” | •จัดแบ่งกลุ่มตามสะดวก •ร่วมกันจัดทำแผนรณรงค์ เวทีชุมชน กระบวนการและ Social Media Campaign เพื่อต่อยอดรณรงค์โครงการเปลี่ยนคุกให้เป็นสวรรค์ |
วิทยากรกลุ่มกิจกรรม อ.จำรัส จันทนาวิวัฒน์ ผศ.บุญอยู่ ขอพรประเสริฐ อ.ภัทราวดี ธีเลอร์ อ.ระวีวรรณ ทรัพย์อินทร์ ดร.พิทยา พละพลีวัลย์ |
วันที่ 3 (วันเสาร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560) |
เวลา | ห้วข้อ | วัตถุประสงค์ | วิทยากร |
09.00 - 12.00 น | กิจกรรม “นำเสนอผลงาน” กลุ่มละ 10-15 นาที (ร่วมคิดและแลกเปลี่ยนกันอีก 15 นาที) |
•แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แผนรณรงค์ เวทีชุมชน กระบวนการ และ Social Media Campaign เพื่อต่อยอดรณรงค์โครงการเปลี่ยนคุกให้เป็นสวรรค์ |
ชุมชนนครปฐมร่วมแลกเปลี่ยนวิทยากรกลุ่มกิจกรรม |
10.46 - 11.00 น. รับประทานอาหารว่าง |
|||
11.00 – 12.00 น. | กิจกรรม “นำเสนอผลงาน” กลุ่มละ 10-15 นาที (ร่วมคิดและแลกเปลี่ยนกันอีก 15 นาที) |
•แลกเปลี่ยนเรียนรู้ แผนรณรงค์ เวทีชุมชน กระบวนการ และ Social Media Campaign เพื่อต่อยอดรณรงค์โครงการเปลี่ยนคุกให้เป็นสวรรค์ |
ชุมชนนครปฐมร่วมแลกเปลี่ยนวิทยากรกลุ่มกิจกรรม |
12.01 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน |
|||
13.01 – 17.00 น | บรรยายหัวข้อ รณรงค์โครงการ และการเขียนโครงการฯ บรรยายหัวข้อ “P-D-C-A” |
•แปลงเป้าหมาย เป็นงาน เป็นขั้นตอนการทำงาน และวิธีการทำงาน •การแบ่งลำดับขั้นตอนการทำงาน การวางเป้าหมายและการลงมือทำให้ได้ผลสำเร็จ •การวัดและประเมินผล•การรณรงค์โครงการ •ระดมสมองจัดทำแผนชุมชนตามพื้นที่ |
วิทยากรบรรยาย ผศ.ดร.เกศินี จุฑาวิจิตร และทีมงาน กิจกรรมแผนโดยทีมวิทยากรกิจกรรม |
14.30 - 14.45 น. รับประทานอาหารว่าง |
|||
17.01 - 18.00 น. รับประทานอาหารเย็น |
|||
18.01 – 21.00 น | ทำแผน | ระดมสมองจัดทำแผนชุมชนตามพื้นที่ (ต่อ) | กิจกรรมแผนโดยทีมวิทยากรกิจกรรม |
วันที่ 4 (วันอาทิตย์ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2560) |
เวลา | ห้วข้อ | วัตถุประสงค์ | วิทยากร |
09.00 - 12.00 น | กิจกรรม “นำเสนอผลงาน” กลุ่มละ 10-15 นาที (ร่วมคิดและแลกเปลี่ยนกันอีก 15 นาที) | •นำเสนอแผนของแต่ละพื้นที่ โครงการ 4 เดือน (มีนาคม - มิถุนายน) |
วิทยากรโครงการ |
10.30 – 10.45 น. รับประทานอาหารว่าง ระหว่างนำเสนอ |
|||
12.01 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน |
|||
13.01 – 13.30 น. | สรุปโครงการ | สรุปผล การฝึกอบรมและประเมินผลสรุปโครงการแต่ละพื้นที่ | ดร.กันยิกา ชอว์ |
13.30 – 14.30 น | ปิดโครงการ | มอบประกาศนียบัตร ถ่ายภาพร่วมกัน ประธานกล่าวปิดโครงการ |
รศ. จุมพล รอดคำดี |
ชั้น 16 อาคารพญาไทพลาซ่า 128/177 ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
16th Fl., Phayatai Plaza, 128/177 Phayathai Rd., Rajthevee, Bangkok 10400 Thailand
โทรศัพท์ : 02-298-0987-8 โทรสาร : 02-298-0989
อีเมล : [email protected]